บทที่ 1 บทนำ
ที่มาและความสำคัญ
ประเทศไทยครั้งยังเป็นสยามประเทศได้ติดต่อค้าขายกับชาวต่างชาติ เช่น จีน อินเดีย มาตั้งแต่สมัยสุโขทัย
โดยส่งเสริมการขายสินค้าซึ่งกันและกัน
ตลอดจนแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมด้านอาหารการกินร่วมไปด้วย ต่อมาในสมัยอยุธยาและรัตนโกสินทร์ ได้มีการเจริญสัมพันธไมตรีกับประเทศต่าง
ๆ อย่างกว้างขวางไทยได้รับเอาวัฒนธรรมด้านอาหารของชาติต่าง
ๆ มาดัดแปลงให้เหมาะสมกับสภาพท้องถิ่น วัตถุดิบที่หาได้
เครื่องมือเครื่องใช้ ตลอดจนการบริโภคนิสัยแบบไทย ๆ จนทำให้คนรุ่นหลัง ๆ แยกไม่ออกว่าอะไรคือขนมที่เป็นไทยแท้ ๆ และอะไรดัดแปลงมาจากวัฒนธรรมของชาติอื่น เช่น ขนมที่ใช้ไข่และขนมที่ต้องเข้าเตาอบ ซึ่งเข้ามาในรัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ผู้เป็นกงสุลประจำประเทศไทยในสมัยนั้น ไทยมิใช่เพียงรับทองหยิบ
ทองหยอด และฝอยทองมาเท่านั้น หากยังให้ความสำคัญกับขนมเหล่านี้โดยใช้เป็นขนมมงคลอีกด้วย
ส่วนใหญ่ตำรับขนมที่ใส่มักเป็น "ของเทศ" เช่น
ทองหยิบ ฝอยทอง ทองหยอด ขนมไทย เป็นเอกลักษณ์ด้านวัฒนธรรมประจำชาติไทยอย่างหนึ่งที่เป็นที่รู้จักกันดี
เพราะเป็นสิ่งที่แสดงให้เห็นถึงความละเอียดอ่อนประณีตในการทำ
ตั้งแต่วัตถุดิบ วิธีการทำ ที่กลมกลืน
พิถีพิถัน ในเรื่องรสชาติ สีสัน ความสวยงาม กลิ่นหอม รูปลักษณะชวนรับประทาน
ตลอดจนกรรมวิธีการรับประทาน ขนมแต่ละชนิด
ซึ่งยังแตกต่างกันไปตามลักษณะของขนมชนิดนั้น ๆ ดังนั้นคณะผู้จัดทำจึงเลือกที่จะจัดทำขนมดอกจอก
วัตถุประสงค์
1.เพื่อ
ให้รู้ถึงวิธีการทำขนมไข่นกกระทา
2.เพื่อให้นักเรียนนำไปประกอบอาชีพและปรับไปใช้ในชีวิตประจำวัน 3.ศึกษาการจัดทำโครงงานคอมพิวเตอร์
2.เพื่อให้นักเรียนนำไปประกอบอาชีพและปรับไปใช้ในชีวิตประจำวัน 3.ศึกษาการจัดทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ขอบเขตของการศึกษา
คณะผู้จัดทำได้ทำเฉพาะขนมดอกจอกเพียงเท่านั้น
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
2.ได้ทำขนมดอกจอกอย่างถูกวิธี
3.ได้รับรายได้เสริม
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยงข้อง
ขนมไข่นกกระทา
ขนมไทย
เป็นเอกลักษณ์อีกอย่างหนึ่งของวัฒนธรรมไทยที่แสดงให้เห็นถึงความประณีต สวยงามอ่อน
ช้อย
ที่สื่อออกมาทางทางด้านงานฝีมือการทำขนม ขนมไทยมีหลากหลายชนิด เช่น ทองหยิบ
ทองหยอด ทองม้วน ฝอยทอง บ้าบิ่น เป็นต้น
ซึ่งขนมไทยเหล่านี้เป็นที่นิยมมากในสมัยโบราณและบางชนิดยังเป็นที่นิยมใน
ปัจจุบัน แต่บางชนิดกับหารับประทานยาก
เช่น ขนมดอกจอก ซึ่งส่วนมากจะเป็นสินค้าโอ
ท๊อปตามหมู่บ้านต่างจังหวัดซะส่วนใหญ่ เช่น จังหวัดนครราชสีมา
ที่มีการผลิตขนมดอกจอกเยอะมากถือเป็นสินค้าโอท็อปอีกอย่างของจังหวัดก็ว่า
ได้
และยังสร้างรายได้ให้กับกลุ่มแม่บ้านหลังจากว่างจากงานครัวเรือนได้อีกด้วย
ส่วนแถวกรุงเทพมหานครก็ยังพอหาทานได้บ้าง และที่อำเภอปากเกร็ด
จังหวัดนนทบุรี
ที่มีชาวบ้านบางส่วนยังให้ความสนใจในขนมดอกจอกและทำการผลิตขายเป็นจำนวนมาก
พร้อมกันนี้เรายังจะได้ดูวิธีและขั้นตอนการผลิตขนมดอกจอกได้ด้วย
ขนมไข่นกกระทา เป็นขนมโบราณ เป็นที่นิยมตั้งแต่สมัยก่อน
แต่ในปัจจุบันเริ่มจะหาทานยาก เด็ก ๆ สมัยนี้อาจจะไม่ค่อยรู้จักกันเท่าไรนัก
เนื่องจากไม่ค่อยเป็นที่นิยมจากเด็กรุ่นใหม่ ขนมไข่นกกระทาเป็นขนมที่มีรูปทรงคล้ายดอกจอกที่มีเเหล่งกำเนิดอยุ่ในน้ำ
รูปทรงสวยงามน่ารับประทาน
เเต่เนื่องจากเป็นขนมที่ต้องใช้น้ำมันพืชปริมาณมากในการทอดจึงไม่ค่อยเป็นที่นิยมกับคนสมัยนี้ที่เน้นเรื่องสุขภาพเป็นสำคัญ
เพราะอาจทำให้มีคอลเรตเตอรอลสูงเเละทำให้อ้วนได้
ขนมไข่นกกระทา ในสมัยก่อนเป็นที่นิยมมากจะเป็นหนึ่งในขนมที่จจัดขึ้นในงานเเละพิธีการสำคัญต่างๆเช่นงานบวช งานเเต่งงาน งานขึ่นบ้านใหม่ เป็นต้น ไม่เเพ้ขนมไทยอย่างทองหยิบ ทองหยอด หรือฝอยทองที่เป็นที่นิยมทั่งในอดีตและปัจจุบัน
ขนมไข่นกกระทา ในสมัยก่อนเป็นที่นิยมมากจะเป็นหนึ่งในขนมที่จจัดขึ้นในงานเเละพิธีการสำคัญต่างๆเช่นงานบวช งานเเต่งงาน งานขึ่นบ้านใหม่ เป็นต้น ไม่เเพ้ขนมไทยอย่างทองหยิบ ทองหยอด หรือฝอยทองที่เป็นที่นิยมทั่งในอดีตและปัจจุบัน
ขนมไข่นกกระทา
เป็นขนมไทยอีกชนิดหนึ่งที่มีประวัติอยุ่คู่กับคนไทยมายาวนาน
เเละเป็นขนมที่มีขั้นตอนการทำไม่อยากทำได้ง่ายไม่ยุ่งยากเเละซับซ้อน
วัตถุดิบในการทำขนมดอกจอกก็หาซื้อได้ง่ายตามท้องตลาดทั่วไปและราคาไม่เเพง
ขนมดอกจอกเป็นขนมอีกหนึ่งชนิดที่เหมาจะะอนุรักษ์ไว้ให้อยู่คู่กับคนไทยไปนานๆ
สุดท้ายผู้เขียนก็หวังว่าคนรุ่นใหม่คงจะไม่ลืมไปว่าเรายังมีขนมไทยอีกหลากหลายชนิดที่มีทั่งความอร่อย
สวยงาม ความประณีตในการทำ เเละราคาไม่เเพงหารับประทานได้ง่าย ไม่เเพ้ขนมหรู
ราคาเเพงในห้างสรรพสินค้าเลย เเละที่สำคัญเราเป็นคนไทย
คนรุ่นใหม่เราก็ควรอนุรักษ์ของๆไทยไม่ว่าจะเป็นวัฒนธรรม ขนม
หรือการใช้ชีวิตเเบบพอเพียง เพื่อให้ชนรุ่นหลังได้เอาเอาเป็นเเบบอย่างต่อไป
บทที่
3
วิธีการจัดทำ
วิธีการจัดทำ
วัสดุและอุปกรณ์
วัสดุและอุปกรณ์ที่ใช้ในการจัดทำโครงงาน
ได้แก่
1.มันนึ่ง 500 กรัม
2.แป้งมัน 2 กรัม
3.แป้งสาลี 30 กรัม
4.ไข่ไก่ 2 ฟอง
5.น้ำตาลทราย 120 กรัม
6.เกลือป่น 2 ช้อนโต๊ะ
7.กะทิ 2 ถ้วย
8.น้ำมันสำหรับทอด วิธีทำ
1.นำแป้งมันมแป้งสาลีมน้ำตาลทรายมและเกลือผสมเข้ากัน8.น้ำมันสำหรับทอด วิธีทำ
2.นำส่วนผสมในขั้นตอนที่ 1 ไปผสมกับมันเทศนึ่งขยำส่วนผสมจนเข้ากันดีจึงปั้นเป็นรูปกลมๆ
3.ตั้งนำ้มันในกระทะบนไฟร้อนปานกลาง รอจรน้ำมันร้อนจึงใส่แป้งที่ปั้นไว้ลงไปทอดค่อยกลับสม่ำเสมออย่าให้ไหม้
4.เมื่อสุกเหลืองดีตักออกมาสะเด็ดน้ำมันทิ้งไว้ให้เย็น
**หมายเหตุ
หน้าจะเป็นที่ชื่นชอบของคนในหมู่บ้าน และได้กำไรแล้วสามาถรนำไปต่อยอดเป็นอาชีพได้
วิธีการจัดทำ
วิธีการจัดทำ
ขั้นตอนการดำเนินงาน
|
วัน เดือน ปี
|
การปฏิบัติงาน
|
เตรียมงาน
|
10 ธันวาคม 2559-20มกราคม 2560 |
ศึกษาหาข้อมูลเกี่ยวกับวี๊การทำขนมไข่นกกระทา
|
ศึกษา
|
10 มกราคม 2560-20มกราคม 2560
|
ศึกษาจริงที่ 143/14 บ้านเกษตรอุดม ต.บุเปื่อย อ.น้ำยืน จ.อุบลราชธานี 34260
|
รวบรวมข้อมูล
|
20 มกราคม 2560-25มกราคม 2560
|
นำข้อมูลที่ได้จากการศึกษามารวบรวมข้อมูล
|
สรุปผล
|
25 มกราคม 2560
|
อภิปรายผลการศึกษา
|
บทที่4
การดำเนินโครงงาน
จากการได้ทำโครงงานเรื่องไข่นกกระทานี้ขึ่นมาพบว่าเวลาทำไข่นกกระทานั่นจะต้องใช้ไฟอ่อนจนถึงปานกลางถ้าใช้ไฟที่แรงเกินไปจะทำให้ไข่นกกระทาไหม้ได้ ส่วนการไส่น้ำมันในกะทะนั่นต้องไส่ค่อนข้างเยอะหน่อย เพราะว่าไม่งั้นไข่นกกระทาจะติดกะทะ ผลกำไรจากการขายนั่นก็พอใช้
บทที่5
สรุปผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ
สรุปผล
อภิปรายผล
จากการที่ได้ทดลองทำขนมไข่นกกระทาและได้นำไปจำหน่ายในหมู่บ้านนั่นพบว่าเปนที่ชื่นชอบในหมู่ผู้ใหญ่มากกว่าเด็ก
ประโยชน์ของโครงงาน
1.สามารถนำไปเป็นอาชีพเสริมได้
2.ลงทนน้อยแต่สามารถเห็นผลกำไร
3.ประหยัดคุ้มค่าในเรื่องวัสดุอุปกรณ์การทำ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น